เมษายน 28, 2024

ให้ \(a,\quad b\) เป็นจำนวนใดๆ \(m\) และ \(n\) เป็นจำนวนเต็ม เราจะได้สมบัติต่างๆของเลขยกกำลังดังต่อไปนี้

  1. \(a^{m}\times a^{n}=a^{m+n}\)
  2. \(\frac{a^{m}}{a^{n}}=a^{m-n}\)
  3. \((a\times b)^{n}=a^{n}b^{n}\)
  4. \((a^{n})^{m}=a^{nm}\)
  5. \((\frac{a}{b})^{n}=\frac{a^{n}}{b^{n}}\)
  6. \(a^{0}=1\) เมื่อ \(a\neq 0\)
  7. \(a^{-n}=\frac{1}{a^{n}}\) เมื่อ \(a\neq 0\)

ต่อไปเราจะนำสมบัติของเลขยกกำลังต่อไปนี้ ไปใช้ในการหาผลคูณ ผลหารของเลขยกกำลังซึ่งจะได้เรียนในหัวข้อต่อไป

Facebook Comments Box
153 Views

1 thought on “สมบัติของเลขยกกำลัง

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *