![เอกซ์โพแนนเชียลแลละลอการิทึม-1200x600](https://pa.mathpaper.net/wp-content/uploads/2022/05/เอกซ์โพแนนเชียลแลละลอการิทึม-1200x600-1-e1653526346716-1024x441.jpg)
ให้ \(a,\quad b\) เป็นจำนวนใดๆ \(m\) และ \(n\) เป็นจำนวนเต็ม เราจะได้สมบัติต่างๆของเลขยกกำลังดังต่อไปนี้
- \(a^{m}\times a^{n}=a^{m+n}\)
- \(\frac{a^{m}}{a^{n}}=a^{m-n}\)
- \((a\times b)^{n}=a^{n}b^{n}\)
- \((a^{n})^{m}=a^{nm}\)
- \((\frac{a}{b})^{n}=\frac{a^{n}}{b^{n}}\)
- \(a^{0}=1\) เมื่อ \(a\neq 0\)
- \(a^{-n}=\frac{1}{a^{n}}\) เมื่อ \(a\neq 0\)
ต่อไปเราจะนำสมบัติของเลขยกกำลังต่อไปนี้ ไปใช้ในการหาผลคูณ ผลหารของเลขยกกำลังซึ่งจะได้เรียนในหัวข้อต่อไป
Facebook Comments Box
312 Views